บันทึกการเรียนครั้งที่ 6
วันพฤหัสบดีที่ 25 เดือน กันยายน พ.ศ. 2557
ชื่อกิจกรรม : ร่อนลงมา นะเจ้ากระดาษน้อย (Paper down glider)
อุปกรณ์ : 1. กระดาษสี่รูปเหลี่ยมผืนผ้า (Rectangle paper)
2. กรรไกร (Scissors)
3. คลิปหนีบกระดาษ (Paper clip)
ขั้นตอนการทำ
1. ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (Cut a rectangle of paper)
2. พับครึ่งกระดาษตามแนวตั้ง (Fold the paper vertically)
3. ตัดปลายกระดาษเข้าด้านใน จนถึงครึ่งหนึ่งของครึ่งที่ตัดไว้
(Cutting edges inward So far, half of the half to cut them)
4. พับปลายกระดาษฝั่งตรงกันข้าม โดยพับเข้ามาเล็กน้อย
(Fold opposite edges)
5. ติดคลิปหนีบกระดาษตรงส่วนปลายกระดาษที่พับเข้า
(The paper clip at the end of the folded paper)
6. ตกแต่งตามจินตนาการ (Imagination to decorate)
>> เรียนรู้เรื่องแรงต้านทาน (Resistance)
>> เรียนรู้วิธีการโยน และลักษณะการร่อนลง
>> ทดลอง และเปรียบเทียบสิ่งประดิษฐ์ที่ตนเองทำขึ้น
>> เด็กได้ใช้ความคิดทั้งเชิงเหตุผล และเชิงสร้างสรรค์
>> เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการลงมือปฏิบัติจริง
>> ได้เล่นร่วมกับเพื่อนๆ อย่างอิสระ
>> กล้าคิด กล้าทำ และภาคภูมิในในผลงานของตนเอง
>> สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวเด็ก
อุปกรณ์ : 1. กระดาษสี่รูปเหลี่ยมผืนผ้า (Rectangle paper)
2. กรรไกร (Scissors)
3. คลิปหนีบกระดาษ (Paper clip)
ขั้นตอนการทำ
1. ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า (Cut a rectangle of paper)
2. พับครึ่งกระดาษตามแนวตั้ง (Fold the paper vertically)
3. ตัดปลายกระดาษเข้าด้านใน จนถึงครึ่งหนึ่งของครึ่งที่ตัดไว้
(Cutting edges inward So far, half of the half to cut them)
4. พับปลายกระดาษฝั่งตรงกันข้าม โดยพับเข้ามาเล็กน้อย
(Fold opposite edges)
5. ติดคลิปหนีบกระดาษตรงส่วนปลายกระดาษที่พับเข้า
(The paper clip at the end of the folded paper)
6. ตกแต่งตามจินตนาการ (Imagination to decorate)
การประดิษฐ์
สิ่งที่เด็กได้รับ
>> เรียนรู้เรื่องแรงโน้มถ่วง (Gravitation)>> เรียนรู้เรื่องแรงต้านทาน (Resistance)
>> เรียนรู้วิธีการโยน และลักษณะการร่อนลง
>> ทดลอง และเปรียบเทียบสิ่งประดิษฐ์ที่ตนเองทำขึ้น
>> เด็กได้ใช้ความคิดทั้งเชิงเหตุผล และเชิงสร้างสรรค์
>> เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการลงมือปฏิบัติจริง
>> ได้เล่นร่วมกับเพื่อนๆ อย่างอิสระ
>> กล้าคิด กล้าทำ และภาคภูมิในในผลงานของตนเอง
>> สร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวเด็ก
สรุปบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Mind map หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง กล้วย
เทคนิกการสอน
1. การให้ลงมือประดิษฐ์ ของเล่นวิทยาศาสตร์ เพื่อทำการทดลอง
และเรียนรู้ด้วยตนเอง
และเรียนรู้ด้วยตนเอง
2. ทักษะการใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นการใช้ความคิด
3. เปิดโอกาสการถามตอบ เพื่อให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเรียน
และการทำกิจกรรม
และการทำกิจกรรม
4. ยกตัวอย่างสื่อสิทยาศาสตร์ ซึ่งเด็กสามารถทำได้ มีวิธีทำไม่ซับซ้อน
5. ทักษะการสรุปในการทำ Mind map หน่วยการเรียนรู้ และการยกตัวอย่างประกอบ
การนำไปประยุกต์ใช้
>> สามารถสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ได้ โดยต่อยอด
จากประสบการณ์ หรือความรู้เดิม
จากประสบการณ์ หรือความรู้เดิม
>> นำไปสอนการประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กได้เรียนรู้ผ่านการเล่น
โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการลงมือปฏิบัติจริง
>> การใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นความคิดของเด็ก
>> จัดทำแผนการสอน จากการทำ Mind map หน่วยการเรียนรู้
เพื่อจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กอย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินการเรียนการสอน
>> ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน
ตอบคำถามของอาจารย์ ร่วมแสดงความคิดเห็น
ตอบคำถามของอาจารย์ ร่วมแสดงความคิดเห็น
และทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน พร้อมจดบันทึกความรู้ที่เรียน
>> ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ทุกคนได้ร่วม
แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามโดยมีการวิเคราะห์
แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามโดยมีการวิเคราะห์
สิ่งที่อาจารย์ถาม เพื่อให้เข้าใจในการเรียนมากขึ้น
และให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างเต็มที่
>> ประเมินอาจารย์ : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิก
ในการสอนโดยใช้คำถามถามปลายเปิด เปิดโอกาสให้นักศึกษา
ในการสอนโดยใช้คำถามถามปลายเปิด เปิดโอกาสให้นักศึกษา
ได้ถาม - แสดงความเห็น มีเทคนิกการสอนที่หลากหลาย
มีการจัดกิจกรรมโดยให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง
บรรยากาศน่าเรียน และ สนุกสนาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น