วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่4

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4 

วันพฤหัสบดีที่ 11 เดือนกันยายน พ.ศ. 2557

เนื้อหา >> การนำเสนอบทความที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

                 มีเรื่องที่นำเสนอดังต่อไปนี้


1. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย > เนื้อหาสำคัญน้อยกว่าการค้นพบทดลอง 

    ควรให้เด็กเรียนรู้ตามธรรมชาติ การเรียนรู้ คือการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 

2. วิทยาศาสตร์กับเด็ก> คิด - วิเคราะห์ - ประเมิน 

3. โครงการวันนักวิทยาศาสตร์น้อย > อพวช. สอนเกี่ยวกับดิน น้ำ ลม ไฟ

4. ลดภาวะโลกร้อน > แยกขยะ, ใช้ของอย่างประหยัด ให้เด็กได้เรีนรู้สิ่งแวดล้อม 

วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาสืบค้น และจัดระบบความจริงเกี่ยวกับธรรมชาติ

อาศัยกระบวนการแสวงาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ การทดลองเพื่อค้นหาความจริง 

เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ที่ยอมรับโดยทั่วไป


สรุป บทความเป็น Mind map ดังนี้




แนวคิดพื้นฐาน

1. การเปลี่ยนแปลง

2. ความแตกต่าง

3. การปรับตัว

4. การพึ่งพาอาศัยกัน

5. ความสมดุล

การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์

1. ขั้นกำหนดปัญหา(ใช้คำถาม)

2. ขั้นตั้งสมมุติฐาน

3. ขั้นรวบรวมข้อมูล

4. ขั้นลงข้อสรุป


เจตคติทางวิทยาศาสตร์

1. ความอยากรู้ อยากเห็น 

2. ความเพียรพยายาม

3. ความมีเหตุผล

4. ความซื่อสัตย์

5. ความมีระเบียบ และรอบคอบ

6. ความใจกว้าง

ความสำคัญ และประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์

1. ตอบสนองความต้องการตามวัย

2. พัฒนาทักษะกระบวนการมางวิทยาศาสตร์ 

3. เสริมสร้างประสบการณ์ 

4. พัฒนาการทางความคิดรวบยอดพื้นฐาน

5. พัฒนาทักษะการแสวงหาวามรู้ทางวิทยาศาสตร์ 

6. สร้างความเชื่อมั้นในตนเอง 

    ฯลฯ

สรุปการเรียนการสอนเป็น Mind map ดังนี้




การนำไปประยุกต์ใช้


>> สามารถจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในเรื่องที่เด็กสนใจ 
>> สอนให้เด็กเกิดเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์ 
     ซึ่งวิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องที่ยาก แต่คือเรื่องที่ใกล้ตัวเรา
>> สามารถศึกษาสิ่งต่างๆ ตามวิธีการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ได้ 
     เพื่อให้ได้รับประโยชน์ในการเรียนรู้อย่างถูกต้อง
>> ให้เด็กได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ คือเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 

เทคนิกในการสอน

>> ทักษะในการใช้คำถามปลายเปิด
>> ทักษะการสังเกตุ และการคิดวิเคราะห์ - คิดสร้างสรรค์
>> ทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยี ในการจัดการเรียนการสอน


การประเมินการเรียนการสอน

>> ประเมินตนเอง     : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน
                                     ตอบคำถามของอาจารย์ และร่วมแสดงความเห็น 
                                    พร้อมจดบันทึกเนื้อหาโดยสรุปความ
>> ประเมินเพื่อน       : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ทุกคนได้ร่วม
                                      แสดงความคิดเห็น และตอบคำถามโดยมีการวิเคราะห์
                                     สิ่งที่อาจารย์ถาม เพื่อให้เข้าใจในการเรียนมากขึ้น
>> ประเมินอาจารย์   : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิก
                                     ในการสอนโดยใช้คำถามถามปลายเปิด อารมณ์ดี 
                                     ยิ้มร่าเริง และสนุกสนาน ทำให้เรียนไม่เครียด


วันศุกร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3

บันทึกการเรียนครั้งที่ 3 

วันพฤหัสบดีที่ 4 เดือนกันยายน พ.ศ. 2557


เนื้อหา            >> รอยหยักในสมองเกิดจากประสบการณ์ และการเรียนรู้
คุณลักษณะตามวัย คือพฤติกรรมในแต่ละวัยที่สะท้อน หรือขยายมาจากพัฒนาการ 
ด้านร่างกาย    >> สุขภาพอนามัย, การเคลื่อนไหว
ด้านอารมณ์    >> การแสดงออกทางความรู้สึก, การรับรู้ความรู้สึก 
ด้านสังคม       >> การอยู่ร่วมกับผู้อื่น, การช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น
ด้านสติปัญญา >> ภาษา    > บอกชื่อตนเองได้, บอกสิ่งต่างๆ, สนทนาโต้ตอบ 
                        >> การคิด  > คิดเชิงเหตุผล > วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์ 
                                            > คิดเชิงสร้างสรรค์ 

ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย 3-5 ปี

1. ชอบที่จะทำให้ผู้ใหญ่พอใจ                      6. ชอบถาม "ทำไม" ตลอดเวลา
2. ช่วยตนเองได้                                           7. อยากรู้ อยากเห็นสิ่งรอบตัว
3. ชอบเล่นแบบคู่ขนาน                                8. สนใจนิทาน และเรื่องราวต่างๆ 
4. พูดประโยคยาวขึ้น                                    9. พอใจคนที่ตามใจ
5. ร้องเพลงง่ายๆ และทำท่าทางเลียนแบบ  10. มีช่วงความสนใจสั้น (5-10 นาที)


การเรียนรู้การคิดการปฏิบัติจริง

1. การเรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
2. พัฒนาทักษะการเปรียบเทียบ จำแนก
3. กิจกรรมโครงการต่างๆ 


ทฤษฎีการเรียนรู้

1. พาฟลอฟ       >>  ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิคของพาฟลอฟ 
2. วัตสัน             >> ความรู้สึกบางอย่างมีมาตั้งแต้กำเนิด เช่น ความรัก, ความกลัว,
                               ความโกรธ 
3. ดิวอี้                >> เด็กเรียนรู้โดยการกระทำ
4. สกินเนอร์       >> การเสริมแรง 
5. เปสตาลอชชี่  >> การอบรมเลี้ยงดู, การยอมรับความแตกต่างของเด็ก 
6. เฟรอเบล        >> การส่งเสริมพัฒนาการตาธรรมชาติของเด็กด้วยการกระตุ้น
                                 ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างเสร๊  

สรุป

              พัฒนาการให้ครบทุกพัฒนาการ เน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่น อย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดุล ยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัว และชุมชน



สรุปการเรียนในวันนี้เป็น Mind map ได้ดังนี้





การนำไประยุกย์ใช้

>> สามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กปฐมวัยได้พัฒนาครบทั้ง 4 ด้าน
>> ให้กำลังใจแก่เด็ก ในการทำกิจกรรมต่างๆ เช่น ให้คำชมเชยหรือ ให้รางวัล
     เพื่อเป็นการเสริมแรงทางบวก ตามทฤษฎีของสกินเนอร์
>> จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง อย่างอิสระ เกิดความ
       สนุกสนานและมีความสุขในการเรียน

เทคนิกในการสอน

>> ทักษะในการใช้คำถามปลายเปิด
>> นักศึกษาทุกคนได้ร่วมแสดงความคิดเห็น
>> ในการจัดการเรียนการสอนให้เด็กได้รับพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน
>> ทักษะในการใช้เทคโนโลยี
>> ทักษะการต่่อยอดความรู้เดิมกับความรู้ใหม่

การประเมินการเรียนการสอน

>> ประเมินตนเอง     : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน
                                    ตอบคำถาม ร่วมแสดงความเห็น และจดบันทึก
>> ประเมินเพื่อน       : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ทุกคนร่วม
                                      แสดงความคิดเห็นเชื่อมโยงความรู้ได้ดี
>> ประเมินอาจารย์   : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิก
                                     ในการสอนโดยใช้คำถามถามปลายเปิด ให้นักศึกษาทุกคนได้
                                     ตอบคำถาม และแสดงความคิดเห็น ให้คำแนะนำในการจัด
                                     การเรียนการสอนให้แก่เด็กปฐมวัย



วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2

บันทึกการเรียนครั้งที่ 2 

วันพฤหัสบดีที่ 28 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2557


เนื้อหาในวันนี้เกี่ยวกับพัฒนาการ และการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 

พัฒนาการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางด้านร่างกาย อามรมณ์ สังคม และสติปัญญา 

พัฒนาการจะเป็นไปตามลำดับขั้นตอน อย่างต่อเนื่อง โดยมีวัย (อายุ) เป็นตัวกำกับ 

พัฒนาการเป็นตัวบอกความสามารถของเด็ก หรือสิ่งที่เดฌกทำได้

การเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อการมีชีวิตรอดในสังคม

ครู หรือผู้ดูแลเด็กจะต้องรู้พัฒนาการของเด็กเพื่อจัดประสบการณ์ และการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก

วิธีการเรียนรู้  การเล่น >>  ลงมือทำกับวัตถุ หรือกิจกรรมด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5 ทั้งแบบเป็นทางการ คือครูวางแผนมีการทดลอง และไม่เป็นทางการ คือ เด็กเล่นของเล่นอย่างอิสระเด็กได้มีโอกาสเลือกหรือตัดสินใจด้วยตนเอง

การเลือกเรื่องที่จะนำมาสอนเด็ก : เรื่องที่เด็กสนใจ, เรื่องที่ใกลเตัวเด็ก, เรื่องที่มีผลกระทบ

ทฤษฎีด้านสิติปัญญา โดยเพียร์เจต์ และบรูเนอร์



สรุปการเรียนในวันนี้เป็น Mind map ได้ดังนี้





                                                  การนำไปประยุกต์ใช้ 
                   >> สามารถจัดการเรียนการสอนให้เด็กได้พัฒนาอย่างองค์รวม
                   >> สามารถออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก
                   >> สามารถเลือกเรื่องที่จะนำมาสอนเด็กได้อย่างเหมาะสม



                                                  เทคนิกในการสอน

                  >> ทักษะในการใช้คำถามกับเด็ก
                 >> เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิด อย่างสร้างสรรค์
                 >> ทักษะการใช้เทคโนโลยี 
                 >> ทักษะในการสอน การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่นของเด็ก

การประเมินการเรียนการสอน

>> ประเมินตนเอง     : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน
                                   ร่วมแสดงความเห็น และจดบันทึก
>> ประเมินเพื่อน       : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ทุกคนร่วม
                                    แสดงความคิดเห็น ตอบคำถามที่อาจารย์ถามได้ดี
>> ประเมินอาจารย์   : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิก
                                   ในการสอนโดยใช้คำถามถามปลายเปิด ให้คำแนะนำ
                                   และได้อธิบายในเรื่องที่นักศึกษายังไม่เข้าใจ