บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
วันพฤหัสบดีที่ 6 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เนื้อหาที่ได้เรียนวันนี้
แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนำเสนอ การสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์
กลุ่มที่1 ชนิดของกล้วย
ควรนำกล้วยของจริงมาสอน โดยอาจทำจดหมายถึงผู้ปกครองให้เด็กๆ นำกล้วยมา
ขั้นนำ เพลง>> กล้วยหวานหวาน มีหลากหลายนานา ใครบอกครูได้หนาว่ามีกล้วยอะไร
การที่เด็กได้ตอบ เด็กได้มีการเชื่องโยงกับประสบการณ์เดิม
ครู : วันนี้เรามีกล้วยมาทั้งหมดกี่หวี
นักเรียน : 7 หวี (นักเรียนหยิบเลขฮินดูอารบิก เลข 7 ไปแปะ)
ใช้เกณฑ์เดียวในการจำแนก >> การเปรียบเทียบมากกว่า น้อยกว่า
>> ดูรูปทรง
>> จำแนกสีเหลืองกับที่ไม่ใช่สีเหลือง
กลุ่มที่ 2 ลักษณะของไก่
ครูอาจใช้จิ๊กซอให้เด็กๆต่อภาพ โดยใช้เพลงแล้วให้เด็กๆ หลับตา เมื่อเพลงจบ เด็กๆลืมตา แล้วนำจิ๊กซอที่ครูแจกไปช่วยกันต่อเป็นภาพไก่
ครูใช้คำถามปลายเปิด เช่น ส่วนประกอบของไก่มีอะไรบ้าง, มีสีอะไรบ้าง, มีขนาดอย่างไรบ้าง เป็นต้น
อาจใช้แผ่นภาพ โดยพลิกด้านหลังไว้ก่อน >> ครู : ภาพด้านหลังนี้เด็กๆ ทายซิว่า เป็นภาพไก่อะไร
วัตถุประสงค์
- เด็กบอกลักษณะของไก่แจ้ และไก่ต๊อกได้
- เด็กเปรียบเทียบไก่แจ้ และไก้ต๊อกได้
กลุ่มที่ 3 วัฏจักรของกบ
เปิดวีดีโอเกี่ยวกับวัฏจักรของกบให้เด็กๆดู หรืออาจจะเล่านิทานเกี่ยวกับวัฏจักรของกบก็ได้
จากวีดีโอ - วงจรชีวิตของกบ >> ไข่กบ ผ่านไป 1 วันจะฟักตัวเป็นลูกอ๊อด
- การดำรงชีวิตของกบ >> กบเป็นสัตว์ครึ่งบก ครึ่งน้ำ เปลี่ยนสีเพื่อพลางตัวได้
อาหารของกบคือ แมลง
- กบจำศีล >> ในฤดูหนาวกบจะลงไปอยู่ในหลุมดิน ปรับตัวเพื่อเอาชีวิตรอด
ปิดปาก ปิดตา ปิดจมูก หายใจทางผิวหนัง
หลังจากการดูวีดีโอ ครูถามคำถามเด็กๆ เพื่อทบทวนความรู้ที่ได้รับจากการดูวีดีโอ เช่น
ครู : เด็กๆ เห็นอะไรจากวีดีโอนีบ้าง, กบมีสีอะไร, เด็กๆเคยพบเห็นกบที่ไหนบ้าง,
กบเจริญเติบโตอย่างไร, กบจำศีลที่ไหน, กบจำศีลเมื่อไหร่, กบจำศีลทำไม, กบจำศีลอย่างไร เป็นต้น
กลุ่มที่ 4 ประโยชน์ และข้อพึงระวังของปลา
ขั้นนำ : เล่านิทานเกี่ยวกับปลา >> ในการเล่านิทานควรใช้คำถามปลายเปิด สอดแทรกขณะเล่านิทาน
ประโยชน์ ข้อพึงระวัง
- นำปลาไปขาย - ไม่ทานปลาที่สุกๆดิบๆ
- นำปลามาประกอบอาหาร - ปลาบางชนิดมีพิษ
- ปลามีสารอาหาร - ก้างปลา
- สามารถนำมาแปรรูปได้
กลุ่มที่ 5 ทาโกยากิ จากข้าว
ครูบอกชื่อ หรือถามส่วนผสม และให้เด็กๆสังเกต
ครูต้องเตรียมส่วนผสมไว้ให้เรียบร้อย
ครูให้เด็กตั้งสมมติฐาน
ครูสาธิตวิธีการทำ แล้วให้เด็กออกจากช่วย เช่น ให้เด็กตีไข่, ตักแครอทใส่ 1 ช้อนชา,
ตักปูอัดใส่ 1 ช้อนชา, ตักต้นหอม 2 ช้อนชา, ตักข้าว 1 ช้อนโต๊ะ เป็นต้น
จากนั้นครูหยอดลงเตา แล้วกลิ้งไปมา แล้วให้เด็กสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น
กลุ่มที่ 6 ชนิดของต้นไม้
ขั้นนำ ครูพูดกลอน หรือคำคล้องจอง (ต้องเกี่ยวกับชนิดของต้นไม้)
ครูใช้คำถามปลายเปิด เช่น - ในคำคล้องจองมีต้นอะไรบ้าง
- นอกจากต้นไม้ในคำคล้องจองแล้ว มีต้นอะไรอีก
ครูให้เด็กๆดู แผ่นภาพ และครูถามคำถามปลายเปิด
* การวางภาพให้วางจากซ้าย ไปขวา *
ใช้เกณฑ์เดียวในการจำแนก >> จำแนกต้นเข็ม กับต้นที่ไม่ใช่ต้นเข็ม
>> การนับจำนวน และบอกค่ามากกว่า น้อยกว่า
กลุ่มที่ 7 ลักษณะของนม
ขั้นน้ำ >> เพลง : ดื้มนมกันเถอะ
การทดลอง >> หยดน้ำยาล้างจานลงไปในนม และสีผสมอาหาร
สิ่งที่เกิดขึ้น >> น้ำยาล้างจาน, นม, สีผสมอาหารจะผสมกัน
นมเปลี่ยนแปลงรูปร่างตามภาชนะที่ใส่
นมไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
นมมีลักษณะเป็นของเหลง เหมือนกับน้ำ
นมมีหลายสี หลายกลิ่น หลายรสชาติ
หาความสัมพันธ์ระหว่างนมที่ได้จากพืช และนมที่ได้จากวัว แตกต่างกันตรงสารอาหาร
กลุ่มที่ 8 อนุรักษณ์น้ำ
ขั้นนำ >> เพลงอย่างทิ้ง : อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง อย่าทิ้ง แม่น้ำจะสกปรก
ถ้าเราเห็นใครทิ้ง ต้องเตือน ต้องเตือน ต้องเตือน
>>นิทาน เรื่องหนูนิด ในการเล่านิทานควรใช้คำถามปลายเปิด สอดแทรกขณะเล่านิทาน
ครูถามคำถามคำถามปลายเปิด เช่น เราจะทำอย่างไร เพื่อไม่ให้น้ำเน่าเสีย
กลุ่มที่ 9 การปลูกมะพร้าว
ขั้นนำ >> เพลง, นิทาน หรือใช้ภาพเกี่ยวกับการปลูกมะพร้าว
ครูถามเด็กๆว่า ปลูกที่ไหนดี จากนั้นครูบอกขั้นตอนการปลูก จากแผ่นภาพ
เพลง : ลมเพลมพัด (แผ่นภาพปลิว)
กลุ่มที่ 10 ผลไม้ผัดเนย
ขั้นนำ >> เพลง: ตรงไหมจ๊ะ (ให้เด็กๆนั่งตรงๆ เพื่อให้เด็กตั้งใจฟังครู)
ครูถามคำถามปลายเปิด เช่น เด็กๆรู้จักผลไม้อะไรกันบ้าง
จากนั้น ครูบอกชื่ออุปกรณ์ และส่วนผสม บางอย่างอาจถามให้เด็กๆได้ตอบ
สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อใส่เนยลงเตา >> เนยละลายเพราะความร้อน
ผลไม้นิ่งขึ้น เพราะ ความร้อน (ครูอาจบอกเด็กๆ หรือถามเด็กๆ)
ในการจัดกิจกรรมอาจตั้งโต๊ะเป็ 5 โต๊ะ (กรณีมีครูช่วยหลายๆคน)
โต๊ะแรก > มีภาพส่วนผสมต่างๆ
โต๊ะที่สอง > สำหรับหั่นผลไม้
โต๊ะที่สาม > ตสำหรับตักผลไม้มาจากโต๊ะที่สอง
โต๊ะที่สี่ > สำหรับผัดผลไม้ และเนย
โต๊ะทีห้า > ตัดใบตอง แล้วนำผลไม้ที่ผัดแล้วมาจัดลงบนใบตอง พร้อมกิน ^^
1. ให้นักศึกษานำเสนอกิจกรรมให้เสร็จก่อน และอาจารย์จึงให้คำแนะนำเพิ่มเติม
2. ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นความคิด การเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม
3. ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์
1. สามารถสอนได้ตรงตามแผนการสอนอย่างถูกต้อง
2. สามารถจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้ในแต่ละหน่วย
3.สามารถจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้อย่างหลากหลาย และสามารถบูรณาการในเรื่องต่างๆได้
เช่น หน่วยกล้วย เด็กสามารถบอกจำนวน และแทนค่าตัวเลขได้
ซึ่งเป็นการบูรณาการทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กได้
หรือ หน่วยไก่ เด็กได้สังเกตลักษณะของไก่การจำแนกสี และขนาดต่างๆ
ซึ่งเป็นการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กได้ เป็นต้น
4. ในการสอนทำอาหาร ครูต้องระมัดระวังความปลอดภัย ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับครู และเด็ก
เช่น เตาที่ร้อน อย่าวางในระดับที่เด็กแตะต้องได้ง่าย ควรดูเด็กๆ อย่างใกล้ชิด
5. สามารถนำการเขียนแผนไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆ ได้ เพื่อที่จะนำไปใช้เมื่อไปสอนเด็กๆ
>> ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน ร่วมทำกิจกรรมที่เพื่อนๆ
แต่ละกลุ่ม มานำเสนอ สนุกมาก เพราะเหมือนเป็นการจัดกิจกรรมให้กับเด็กจริงๆ
มีสื่อต่างๆ มีอุปกรณ์ในการทำอาหาร ได้ทานทาโกยากิจากข้าว
และผลไม้ผัดเนย รับรองว่าอร่อยมากๆ ^^ จดเนื้อหาที่เพื่อนนำเสนอ
การจัดกิจกรรม และความรู้ที่อาจารย์สอน อย่างครบถ้วน
>> ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ เพือนๆตั้งใจ และให้ความร่วมมือในการ
จัดกิจกรรมให้สำเร็จไปได้ด้วยดี อาจมีการสอนที่ยังไม่ถูกต้องบ้าง
เพราะเป็นการสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในครั้งแรก แต่ทุกคนก็ตั้งใจ
และทำออกมาได้ดี เพื่อนที่เป็นนักเรียนก็ได้ร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกัน
เป็นอย่างดี มีการตอบคำถาม และลงมือทำอาหารร่วมกัน
จึงทำให้บรรยากาศในห้องเรียนสนุกสนาน
เพื่อนๆ มีการจดบันทึกแต่ละกิจกรรมเพิ่มเติมให้เข้าใจมากขึ้น
>> ประเมินอาจารย์ : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิกในการสอนที่สนุกสนาน
เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้จัดกิจกรรมด้วยตนเอง
อาจารย์ให้คำแนะนำในการสอน ซึ่งจะทำให้การสอน เป็นไปอย่างถูกต้อง
เหมาะสม มีความหลากหลาย และสามารถนำไปใช้ได้จริง
อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อให้นักศึกษา กล้าคิด กล้าตอบ มีส่วนร่วม
และมีความสุขในการเรียน^^
เทคนิกการสอน
2. ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นความคิด การเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม
3. ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์
การนำไปประยุกใช้
2. สามารถจัดประสบการณ์ให้กับเด็กได้ในแต่ละหน่วย
3.สามารถจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ได้อย่างหลากหลาย และสามารถบูรณาการในเรื่องต่างๆได้
เช่น หน่วยกล้วย เด็กสามารถบอกจำนวน และแทนค่าตัวเลขได้
ซึ่งเป็นการบูรณาการทางคณิตศาสตร์ให้กับเด็กได้
หรือ หน่วยไก่ เด็กได้สังเกตลักษณะของไก่การจำแนกสี และขนาดต่างๆ
ซึ่งเป็นการบูรณาการทางวิทยาศาสตร์ให้กับเด็กได้ เป็นต้น
4. ในการสอนทำอาหาร ครูต้องระมัดระวังความปลอดภัย ซึ่งอาจจะเกิดขึ้นกับครู และเด็ก
เช่น เตาที่ร้อน อย่าวางในระดับที่เด็กแตะต้องได้ง่าย ควรดูเด็กๆ อย่างใกล้ชิด
5. สามารถนำการเขียนแผนไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆ ได้ เพื่อที่จะนำไปใช้เมื่อไปสอนเด็กๆ
การประเมินการเรียนการสอน
>> ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน ร่วมทำกิจกรรมที่เพื่อนๆ
แต่ละกลุ่ม มานำเสนอ สนุกมาก เพราะเหมือนเป็นการจัดกิจกรรมให้กับเด็กจริงๆ
มีสื่อต่างๆ มีอุปกรณ์ในการทำอาหาร ได้ทานทาโกยากิจากข้าว
และผลไม้ผัดเนย รับรองว่าอร่อยมากๆ ^^ จดเนื้อหาที่เพื่อนนำเสนอ
การจัดกิจกรรม และความรู้ที่อาจารย์สอน อย่างครบถ้วน
>> ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงเวลา แต่งการถูกระเบียบ เพือนๆตั้งใจ และให้ความร่วมมือในการ
จัดกิจกรรมให้สำเร็จไปได้ด้วยดี อาจมีการสอนที่ยังไม่ถูกต้องบ้าง
เพราะเป็นการสอนกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ในครั้งแรก แต่ทุกคนก็ตั้งใจ
และทำออกมาได้ดี เพื่อนที่เป็นนักเรียนก็ได้ร่วมมือในการทำกิจกรรมร่วมกัน
เป็นอย่างดี มีการตอบคำถาม และลงมือทำอาหารร่วมกัน
จึงทำให้บรรยากาศในห้องเรียนสนุกสนาน
เพื่อนๆ มีการจดบันทึกแต่ละกิจกรรมเพิ่มเติมให้เข้าใจมากขึ้น
>> ประเมินอาจารย์ : เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม มีเทคนิกในการสอนที่สนุกสนาน
เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้จัดกิจกรรมด้วยตนเอง
อาจารย์ให้คำแนะนำในการสอน ซึ่งจะทำให้การสอน เป็นไปอย่างถูกต้อง
เหมาะสม มีความหลากหลาย และสามารถนำไปใช้ได้จริง
อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิด เพื่อให้นักศึกษา กล้าคิด กล้าตอบ มีส่วนร่วม
และมีความสุขในการเรียน^^
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น