บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วันพฤหัสบดีที่ 13 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2557
เนื้อหาที่ได้เรียนวันนี้
ให้นักศึกษานำเสนอ การสรุปวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ใช้กับเด็กปฐมวัย
1. วิจัยเรื่อง การส่งเสริมทักษะการสังเกต โดยใช้การจัดกิจกรรมเกมการศึกษา
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการสังเกตที่ดีขึ้น
- เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- เกมจับคู่ภาพเหมือน
- เกมจับคู่ภาพกับเงา
- เกมภาพตัดต่อ
- เกมสังเกต
สรุป
- หลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา มีทักษะการสังเกตสูงขึ้น
การทดลองหลังการฟังนิทาน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
- แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจาก
การเล่านิทาน ซึ่งนิทานเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เมื่อฟังนิทานจบ
เด็กได้ประดิษฐ์ ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
- การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การจำแนก หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ และบอกข้อแตกต่าง
ของคุณสมบัติ มีเกณฑ์การแบ่งเป็น 3 ประการ คือ
ตวามเหมือน, ความแตกต่าง และความสัมพันธ์
- การสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การทดลอง
มุ่งโดยมุ่งสื่อข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น
3. วิจัยเรื่อง การศึกษาผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบเด็กนักวิจัยที่มีทักษะ
ต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาทักษะของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การเรียนรู้แบบนักวิจัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การเรียนรู้แบบนักวิจัยก่อนทดลอง และหลังการทดลอง
สรุป
- ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย
ทำการทดสอบด้วยแบบทดสอบ 8 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดการทดลอง นำแบบทดสอบ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทดสอบอีกครั้งแล้วนำข้อมูลที่ได้-
จากการทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ
4. วิจัยเรื่อง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องสีจากธรรมชาติ
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการจำแนก
- ทักษะมิติสัมพันธ์
- ทักษะการลงความเห็น
คำสำคัญ >> เด็กปฐมวัย
>> ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
>> กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ
สรุป : ก่อนการจัดกิจกรรมเด็กมีความรู้ในระดับปานกลาง
หลังการจัดกิจกรรมเด็กได้รับความรู้มากขึ้น
เครื่องมือที่ใช้
1. แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ 40 แผน
2. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- ทดสอบวัดการสังเกต
- การจำแนก
- การวัดปริมาณ
- การหามิติสัมพันธ์
- การลงความเห็น
สรุป : เน้นกระบวนการเปิดโอกาสให้เด็กได้ปฏิบัติทุกขั้นตอน
โดยให้เด็กทำแป้งโดเอง แล้วนำแป้งโด มาเล่น ซึ่งสอดคล้องกับ
การจัดการเรียนการสอนของ จอห์น ดิวอี้ >> Learning by doing
ทักษะที่ได้รับ
- ทักษะการฟัง
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการคิดแก้ปัญหา
- ทักษะการใช้เหตุผล
สรุป
- จากการทดลองพบว่า เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณทั้งในภาพรวม
และรายด้าน สูงขึ้นกว่าก่อนการจัดกิจกรรม
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้นักเรียนมีทักษะการสังเกตที่ดีขึ้น
- เพื่อให้นักเรียนนำทักษะที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- เกมจับคู่ภาพเหมือน
- เกมจับคู่ภาพกับเงา
- เกมภาพตัดต่อ
- เกมสังเกต
สรุป
- หลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา มีทักษะการสังเกตสูงขึ้น
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
- แผนการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน
- แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรมการทดลองหลังการฟังนิทาน เป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องจาก
การเล่านิทาน ซึ่งนิทานเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เมื่อฟังนิทานจบ
เด็กได้ประดิษฐ์ ทำการทดลองทางวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง
ทักษะที่เด็กได้รับ
- การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การจำแนก หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ และบอกข้อแตกต่าง
ของคุณสมบัติ มีเกณฑ์การแบ่งเป็น 3 ประการ คือ
ตวามเหมือน, ความแตกต่าง และความสัมพันธ์
- การสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการนำข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การทดลอง
มุ่งโดยมุ่งสื่อข้อมูลให้ผู้อื่นเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น
ต่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัย
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาทักษะของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การเรียนรู้แบบนักวิจัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ
การเรียนรู้แบบนักวิจัยก่อนทดลอง และหลังการทดลอง
สรุป
- ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นปฐมวัย
ทำการทดสอบด้วยแบบทดสอบ 8 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดการทดลอง นำแบบทดสอบ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ทดสอบอีกครั้งแล้วนำข้อมูลที่ได้-
จากการทดสอบมาวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติ
สรุป : เน้นกระบวนการเปิดโอกาสให้เด็กได้ปฏิบัติทุกขั้นตอน
- ทักษะการฟัง
- ทักษะการสังเกต
- ทักษะการคิดแก้ปัญหา
- ทักษะการใช้เหตุผล
สรุป
- จากการทดลองพบว่า เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณทั้งในภาพรวม
และรายด้าน สูงขึ้นกว่าก่อนการจัดกิจกรรม
โดยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จุดมุ่งหมาย
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับ
การจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กับการจัด
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ แบบปกติ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
2. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิิดอย่างมีเหตุผล 5 ชุด
สรุป
- เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แบบปกติ และหลังการทดลอง มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
เทคนิกการสอน
1. ให้นักศึกษาได้สืบค้นหาวิจัยที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยเอง
2. ให้นักศึกษาได้สรุปวิจัย และยกตัวอย่างกิจกรรมที่จัดขึ้น
3. ให้นักศึกษาถ่ายทอดข้อมูลที่ตนเองสรุปจากวิจัย ด้วยการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
4. อาจารย์เปิดโอกาสให้นักศึกษานำเสนอการสรุปวิจัยด้วยตนเองก่อน
เมื่อนำเสนอเสร็จ อาจารย์จึงให้คำแนะนำต่างๆ ในเนื้อหาข้อมูล กิจกรรมต่างๆ
รวมถึงวิธีการนำเสนออย่างเหมาะสม เพื่อให้นักศึกษานำไปปรับใช้ได้อย่างถูกต้อง
5. การใช้คำถามปลายเปิด เพื่อกระตุ้นความคิดวิเคราะห์ และความคิดสร้างสรรค์
รวมถึงความกล้าแสดงออก และความมั่นใจในการตอคำถาม
การนำไปประยุกต์ใช้
1. สามารถต่อยอดการจัดกิจกรรมต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ ให้แก่เด็กปฐมวัยได้
เช่น ให้เด็กๆ พับกระดาษเป็นรูปเรือ ทดสอบว่าเรือลอย หรือจม
จากนั้นใส่ลูกแก้วไปทีละลูก เมื่อใส่เพิ่มมากขึ้นจนเรือหนัก ทำให้เรือจมน้ำ
ครูต้องให้เด็กได้ใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ให้เด็กได้สังเกต,
จำแนกความหนักเบาของเรือ, ตั้งสมมติฐาน, ทดลองด้วยตนเอง และ
การถ่ายทอดความคิดเห็น
2. สามารถนำเรื่องใกล้ตัว และสื่อที่หาได้จากท้องถิ่น มาจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
ให้กับเด็กปฐมวัยได้
3. สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัยได้
อย่างหลากหลาย และบูรณาการในเรื่องราวต่างๆได้ เช่น ทำสีจากดอกไม้
ให้เด็กได้เก็บดอกไม้ มาตำ ใส่น้ำ แล้วทำเป็นสี เด็กสามารถเรียนรู้เรื่องสี
จากดอกไม้หลากหลายชนิด ได้ปฏิบัติการทดลองด้วยนเอง
สามารถบูรณาการศิลปะได้โดยให้เด็กได้เรียนรู้เรื่องสี และการผสมสี
บูรณาการคณิตศาสตร์โดยให้เด็กได้นับจำนวนดอกไม้ที่นำมาใช้
และปริมาณการเติมน้ำ เพื่อให้เกิดเป็นสีสวยๆ ตามที่ต้องการ
การประเมินการเรียนการสอน
>> ประเมินตนเอง : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกระเบียบ
เตรียมความพร้อมในการนำเสนอ สรุปข้อมูลของวิจัย
และยกตัวอย่างกิจกรรม มานำเสนออย่างครบถ้วน
แต่ต้องปรับปรุงในเรื่องการใช้น้ำเสียงในการนำเสนอให้น่าสนใจ
จดบันทึกวิจัยที่เพื่อนนำเสนอ, ความรู้, คำแนะนำที่ได้รับจาก
อาจารย์ และจะนำไปปรับปรุง แล้วนำไปใช้ให้ถูกต้องเหมาาะสม
>> ประเมินเพื่อน : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายถูกรเบียบ
เพื่อนที่นำเสนอการสรุปวิจัย บางคนสรุปเนื้อหาได้อย่างครบถ้วน
มีการยกตัวอย่างกิจกรรม แต่บางคนก็ยังสรุปไม่ครบทุกขั้นตอน
ยังขาดการยกตัวอย่างกิจกรรมบ้าง และอาจารย์ได้ให้ไปศึกษา
หาข้อมูลมาเพิ่ม สำหรับคนที่หาข้อมูลมาไม่ครบ
เพื่อนหลายๆคน ตั้งใจฟังการนำเสนอ ฟังคำแนะนำจากอาจารย์
และมีการจดบันทึกความรู้ที่ได้รับในการเรียน
>> ประเมินอาจารย์: เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายสุภาพเหมาะสม
อาจารย์ให้คำแนะนำ ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้แก่
เด็กปฐมวัย อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักศึกษาได้คิด
ได้ประยุกต์การจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม
ให้เด็กได้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรม
อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิด เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้คิด ได้ตอบ
ในความคิดของตนเอง สอนสนุกสนาน
ทำให้บรรยากาศในการเรียนไม่เครียด ได้เรียนอย่างมีความสุข ^^
จุดมุ่งหมาย
เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการคิดอย่างมีเหตุผล ของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับ
การจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กับการจัด
กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ แบบปกติ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1. แผนการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์
2. แบบทดสอบวัดความสามารถการคิิดอย่างมีเหตุผล 5 ชุด
สรุป
- เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แบบปกติ และหลังการทดลอง มีความสามารถด้านการคิดอย่างมีเหตุผลแตกต่างกัน
อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5
เตรียมความพร้อมในการนำเสนอ สรุปข้อมูลของวิจัย
และยกตัวอย่างกิจกรรม มานำเสนออย่างครบถ้วน
แต่ต้องปรับปรุงในเรื่องการใช้น้ำเสียงในการนำเสนอให้น่าสนใจ
จดบันทึกวิจัยที่เพื่อนนำเสนอ, ความรู้, คำแนะนำที่ได้รับจาก
อาจารย์ และจะนำไปปรับปรุง แล้วนำไปใช้ให้ถูกต้องเหมาาะสม
เพื่อนที่นำเสนอการสรุปวิจัย บางคนสรุปเนื้อหาได้อย่างครบถ้วน
มีการยกตัวอย่างกิจกรรม แต่บางคนก็ยังสรุปไม่ครบทุกขั้นตอน
ยังขาดการยกตัวอย่างกิจกรรมบ้าง และอาจารย์ได้ให้ไปศึกษา
หาข้อมูลมาเพิ่ม สำหรับคนที่หาข้อมูลมาไม่ครบ
เพื่อนหลายๆคน ตั้งใจฟังการนำเสนอ ฟังคำแนะนำจากอาจารย์
และมีการจดบันทึกความรู้ที่ได้รับในการเรียน
อาจารย์ให้คำแนะนำ ในการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ให้แก่
เด็กปฐมวัย อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักศึกษาได้คิด
ได้ประยุกต์การจัดกิจกรรมได้อย่างเหมาะสม
ให้เด็กได้เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพในการจัดกิจกรรม
อาจารย์ใช้คำถามปลายเปิด เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้คิด ได้ตอบ
ในความคิดของตนเอง สอนสนุกสนาน
ทำให้บรรยากาศในการเรียนไม่เครียด ได้เรียนอย่างมีความสุข ^^
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น